วารสาร HRintelligence ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2552

  การจัดการปัญหาพฤติกรรมเด็กป๋า/เด็กเสี่ยของนักศึกษาหญิงแบบเชิงรุก
  Proactive Management for Mistress Behavior Solution of the Colledge Girls

  เกวลี เตรียมแจ้งอรุณ

บทคัดย่อ
          การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยองค์ประกอบและสาเหตุการณ์เกิดพฤติกรรมเด็กป๋า/เด็กเสี่ย ของนักศึกษาหญิง นำสู่การเกิดปรากฎการณ์ รวมทั้งการศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการจัดการปัญหาพฤติกรรมเด็กป๋า/เด็กเสี่ย ของนักศึกษาหญิงแบบเชิงรุก เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก เครื่องมือคือแบบสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญมีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง คือ นักศึกษาหญิงที่มีพฤติกรรมเด็กป๋า/เด็กเสี่ย ศึกษาอยู่สถาบันอุดมศึกษาภาครัฐหรือภาคเอกชนเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 10 ราย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสังคม/ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 6 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการเกิดพฤติกรรมเด็กป๋า/เด็กเสี่ยของนักศึกษาหญิง คือ ปัจจัยภูมิหลังของครอบครัว ได้แก่ ฐานะทางเศรษฐกิจ สถานภาพพ่อแม่ การเลี้ยงดู บุคลิกภาพ อุปนิสัย รายได้และการพักอาศัยระหว่างศึกษา ปัจจัยด้านประสบการณ์ความรักและการแต่งงาน ปัจจัยด้านผลประโยชน์ต่างตอบแทน ส่วนสาหุสำคัญที่ชักนำเข้าสู่วงกรเด็กป๋า/เด็กเสี่ย ได้แก่ การย้ายถิ่น อิทธิพลกลุ่มเพื่อน และการคบเพื่อน เช่น เพื่อนักศึกษาหญิงเด็กป๋า/เด็กเสี่ย ความอยากรู้อยากเห็นอยากทดลอง อาชีพที่หารายได้เสริมพิเศษ การสร้างกระแสความนิยมในกลุ่มสังคม ต้องการความรักความอบอุ่นที่พึ่งพักพิงทางใจ และความรัก ความผูกพันทางอารมณ์ส่วนวิถีหรือขบวนการที่นำสู่

Abstract
            This study has two main objectives : to study factors and reasons leading to mistress behavior of college girls, and to propose solutions to the problems. The study employs qualitative methodology by in-depth interview. Key informants were selected based on purposive sampling. They included ten college girls with mistress behavior, studying at public or private universities in Bangkok and the suburbs, as well as six stakeholders. The information obtained was analyzed using content analysis.
            The study revealed that factors relevant to the establishment of the mistress behavior of the college girls were family background, i.e. financial status, parent status, raising methods, pesonality, trait, income, and accommodations during college studies; love and marriage experience; and mutually reciproacl factors. The main reasons that brought these girls to conduct such mistress behavior included migration, friend circles, curiosity to gain life experience, middlemen, well-paid part-time job, fashions, desire for love and psychological dependence, as well as love and emotional tie. Methods or processes to enter this field mere through a middleman and by direct contact.
            As for the solutions to counter mistress behavior of college girls’ problem, the basis of balanced and sustainable life development should be established. That is, 1.to build mental, cultural and socia immunity. Moreover, human resources of all ages should be developed through knowledge transferring and practical seminars. 2. This can be done by developing Ministry of Education’s compulsory subjects regarding family studies and sexual equality. 3. Young citizens should be given an opportunity to be actively involved in social development. 4.Media reform should be taken place so that the media seriously help solve social problems.