วันที่ได้รับต้นฉบับบทความ : 25 มิถุนายน 2567
วันที่แก้ไขปรับปรุงบทความ : 19 กรกฎาคม 2567
วันที่ตอบรับตีพิมพ์บทความ : 19 กรกฎาคม 2567
บทคัดย่อ
การศึกษานี้ชวนให้พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงการทำงานและรายได้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ภายในประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิชั่วโมงการทำงาน และรายได้แยกตามอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ จากองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2012 - 2022 โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล ข้อสังเกตจากงานศึกษามีหลายประการ เช่น มีความแตกต่างอย่างมากในชั่วโมงการทำงานและรายได้ในอุตสาหกรรมการเกษตร และอุตสาหกรรมการผลิต ซึ่งสะท้อนถึงความไม่เท่าเทียมในตลาดแรงงาน ทำให้มีความจำเป็นในการพัฒนาแรงงานในด้านต่าง ๆ เพื่อเพิ่มทักษะ พัฒนาคุณภาพชีวิต และสร้างความยั่งยืนให้แรงงานรวมถึงตลาดแรงงาน นอกจากนี้ การศึกษายังเน้นย้ำความจำเป็นในการทบทวนมีนโยบายแรงงานที่เอื้ออำนวยต่อการกระจายรายได้อย่างยุติธรรมและการเติบโตทางเศรษฐกิจที่รวมความหลากหลายของแรงงานทุกกลุ่มไว้ด้วยกัน (Inclusive)
คำสำคัญ :
รัฐสวัสดิการ, นโยบายการศึกษา, ค่าครองรัก, ความสัมพันธ์ความรัก, ฟินแลนด์
|
Received : June 25, 2024
Revised : July 19, 2024
Accepted : July 19, 2024
Abstract
This study introduces the "cost of loving" concept to analyze Finland's 2024 educational welfare policies' impact on love relationships in the neoliberal era through document research. Findings reveal that the policies reduce financial, time, and labor burdens while developing entrepreneurial skills, however, also potentially lead to paradox of choice phenomena and easier relationship dissolution. This concept reflects welfare state's role in supporting love amid commodification. Recommendations include comparative studies between countries, further qualitative research, and development of policies integrating education with other social dimensions to promote desirable love relationships.
Keywords:
Welfare State, Educational Policy, Cost of Loving, Love Relationships, Finland
---------------------------------------------------------------------------
Corresponding Author E-mail : chananya.pra@dome.tu.ac.th |